แบบประเมินของอาจารย์ประจำหลักสูตร
                                            ต่อการบริหารจัดการหลักสูตร วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาฟิสิกส์
                                                        คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
                                                                                    ปีการศึกษา ๒๕๕๙
Sign in to Google to save your progress. Learn more
คำชี้แจง
แบบประเมินนี้มี ๔ ตอน คือ
          ตอนที่ ๑ ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบประเมิน
          ตอนที่ ๒ การบริหารและพัฒนาอาจารย์
          ตอนที่ ๓ กระบวนการบริหารหลักสูตร
          ตอนที่ ๔ กระบวนการเรียนการสอน
ตอนที่ ๑ ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบประเมิน
คำชี้แจง กรุณาเลือกคำตอบที่ตรงกับความเป็นจริงของท่าน
๑.๑ ประสบการณ์การสอนในหลักสูตร
Clear selection
๑.๒ วุฒิการศึกษา
Clear selection
๑.๓ ตำแหน่งทางวิชาการ
Clear selection
๑.๔ ประเภทผู้ตอบแบบสอบถาม
Clear selection
ตอนที่ ๒
คำชี้แจง  กรุณาทำเลือกคำตอบในช่องที่ตรงกับระดับความพึงพอใจของท่าน
(ระดับความพึงพอใจ  มากที่สุด = 5, มาก = 4, ปานกลาง = 3, น้อย = 2, น้อยที่สุด = 1)
๒.๑ การบริหารและพัฒนาอาจารย์
น้อยที่สุด
น้อย
ปานกลาง
มาก
มากที่สุด
๑.การวางแผนระยะยาวด้านอัตรากำลังอาจารย์ให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร
๒.การกำหนดบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบของอาจารย์ประจำหลักสูตรมีความชัดเจน
๓.อาจารย์ประจำหลักสูตรมีส่วนร่วมในการประชุมเพื่อวางแผน ติดตาม และทบทวนการดำเนินงานหลักสูตร
๔.การจัดรายวิชามีความเหมาะสมตรงกับความรู้ความสามารถของอาจารย์ผู้สอน
๕.จำนวนภาระงานสอนของอาจารย์ที่เป็นจริงในหลักสูตรมีความเหมาะสม
๖.การประเมินการสอนของอาจารย์ และนำผลมาใช้ในการส่งเสริมพัฒนาความสามารถด้านการสอนของอาจารย์
๗.อาจารย์ใหม่ทุกคน ได้รับการปฐมนิเทศหรือคำแนะนำด้านการจัดการเรียนการสอน
อาจารย์ประจำทุกคนได้รับการพัฒนาทางวิชาการและ/หรือวิชาชีพ อย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง
อาจารย์ได้รับการส่งเสริมให้เข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการและศึกษาต่อ
การเสริมสร้างบรรยากาศทางวิชาการระหว่างอาจารย์ทั้งในและระหว่างหลักสูตร
Clear selection
ตอนที่ ๓
คำชี้แจง  กรุณาทำเลือกคำตอบในช่องที่ตรงกับระดับความพึงพอใจของท่าน
(ระดับความพึงพอใจ  มากที่สุด = 5, มาก = 4, ปานกลาง = 3, น้อย = 2, น้อยที่สุด = 1)
๓.๑ กระบวนการบริหารหลักสูตร
น้อยที่สุด
น้อย
ปานกลาง
มาก
มากที่สุด
๑.การกำกับและติดตามการจัดทำรายละเอียดของรายวิชา และประสบการณ์ภาคสนาม (ถ้ามี) ตามแบบ มคอ.๓ และ มคอ.๔ อย่างน้อยก่อนการเปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษาให้ครบทุกรายวิชา
๒.การกำกับและติดตามการจัดทำรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา และประสบการณ์ภาคสนาม (ถ้ามี) ตามแบบ มคอ.๕ และ มคอ.๖ ภายใน ๓๐ วัน หลังสิ้นสุดภาคการศึกษาที่เปิดสอนให้ครบทุกรายวิชา
๓.การทบทวนผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ที่กำหนดใน มคอ.๓ และ มคอ.๔ (ถ้ามี) อย่างน้อยร้อยละ ๒๕ ของรายวิชาที่เปิดสอนในแต่ละปีการศึกษา
๔.การพัฒนา/ปรับปรุง การจัดการเรียนการสอน กลยุทธ์การสอน หรือ การประเมินผลการเรียนรู้ จากผลการประเมินการดำเนินงานที่รายงานใน มคอ.๗ ปีที่แล้ว
๕.จำนวนบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน ได้รับการพัฒนาวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๕๐ ต่อปี
การบริหารหลักสูตร ได้รับความร่วมมือและความช่วยเหลือจากหน่วยงานอื่นที่มีความเกี่ยวข้องอย่างเหมาะสม
Clear selection
ตอนที่ ๔
คำชี้แจง  กรุณาทำเลือกคำตอบในช่องที่ตรงกับระดับความพึงพอใจของท่าน
(ระดับความพึงพอใจ  มากที่สุด = 5, มาก = 4, ปานกลาง = 3, น้อย = 2, น้อยที่สุด = 1)
๔.๑ กระบวนการเรียนการสอน
น้อยที่สุด
น้อย
ปานกลาง
มาก
มากที่สุด
๑. การควบคุมการจัดการเรียนการสอนในวิชาที่มีหลายกลุ่มเรียนให้ได้มาตรฐานเดียวกัน
๒. การส่งเสริมให้อาจารย์ใช้วิธีการสอนใหม่ ๆ ที่พัฒนาทักษะการเรียนรู้ของนักศึกษา
๓. การส่งเสริมการทำวิจัยเพื่อพัฒนานักศึกษาของอาจารย์
๔. การควบคุมกำกับกระบวนการจัดการเรียนการสอนและการประเมินนักศึกษา
๕. การนำกระบวนการบริการทางวิชาการเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการเรียนการสอนและส่งผลต่อการเรียนรู้ของนักศึกษา
๖. การนำกระบวนการวิจัยมาใช้ในการเรียนการสอนและส่งผลต่อการเรียนรู้ของนักศึกษา
๗. การสอดแทรกศิลปะและวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ในกระบวนการเรียนการสอนและส่งผลต่อการเรียนรู้ของนักศึกษา
Clear selection
๕. ด้านสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้
น้อยที่สุด
น้อย
ปานกลาง
มาก
มากที่สุด
๑.อาคารเรียน ห้องเรียน และห้องปฏิบัติการ มีความพร้อมต่อการจัดการศึกษา
๒.ทรัพยากรที่เอื้อต่อการเรียนรู้ เช่น อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ ห้องสมุด ตำรา/หนังสือ แหล่งเรียนรู้ ฐานข้อมูล มีความเหมาะสมต่อการจัดการศึกษา
๓.มีการดูแล รักษาสภาพแวดล้อม และทรัพยากรที่เอื้อต่อการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ
๔.เทคโนโลยีที่ใช้ในการจัดการเรียนการสอนมีความเหมาะสมกับยุคสมัย
๕.การจัดพื้นที่/สถานที่พบปะ สังสรรค์แลกเปลี่ยนสนทนา หรือทำงานร่วมกัน
มีบริการคอมพิวเตอร์ อินเตอร์เน็ตความเร็วสูง
มีการจัดสรรงบประมาณให้เพื่อทำวิจัย
มีห้องทำงานวิจัย (ซึ่งไม่ใช่ห้องเรียน) เพื่อให้เข้าใช้ได้สะดวกในการทำวิจัย
มีอุปกรณ์และเครื่องมือพื้นฐานที่จำเป็นและเหมาะสมในการทำวิจัย
Clear selection
ข้อเสนอแนะอื่นๆ (ระบุ)
Submit
Clear form
Never submit passwords through Google Forms.
This form was created inside of คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. Report Abuse