แบบสำรวจวัฒนธรรมความปลอดภัยในโรงพยาบาล โรงพยาบาลวังเหนือ
Sign in to Google to save your progress. Learn more
ข้อมูลส่วนบุคคลและพื้นที่ปฏิบัติงาน / หน่วยงานของผู้ตอบแบบสำรวจ
1.เพศ *
2.ปี พ.ศ. เกิดของท่าน *
3. ระดับการศึกษาสูงสุดของท่าน *
4. สถานภาพสมรสของท่าน *
5. จำนวนผู้อยู่ภายใต้อุปการะ/บุตร-หลาน/คนที่ท่านต้องส่งเสียเลี้ยงดู *
6. ท่านทำงานในโรงพยาบาลแห่งนี้มานานเท่าไร *
7. ท่านเป็นบุคลากรที่อยู่ในประเภทการจ้างแบบใด *
8. ในตำแหน่งงานท่าน ต้องมีปฏิสัมพันธ์/สัมผัสโดยตรงกับผู้ป่วยหรือไม่ *
9. ตำแหน่งงาน **(ให้เลือกตำแหน่งในหน่วยงานท่าน)** *
10. สายงาน/วิชาชีพในปัจจุบัน *
11. ทำงานสาขา/วิชาชีพนี้นานเท่าไร *
12. พื้นที่ปฏิบัติงาน/หน่วยงานหลักของท่าน *
13. ท่านทำงานในพื้นที่/หน่วยงานปัจจุบันมานานเท่าไร *
14. ทำงานใน รพ.กี่ชั่วโมงต่อสัปดาห์ *
15. ท่านได้เลื่อนระดับ/ตำแหน่งครั้งล่าสุดเมื่อไร (ตัวอย่าง เช่น เลื่อนตำแหน่งจากปฏิบัติการเป็นชำนาญการ) *
16. สถานะทางเศรษฐกิจ/การเงินในปัจจุบันของท่าน *
            แบบสำรวจวัฒนธรรมความปลอดภัยในโรงพยาบาล (Hospital Survey on Patient Safety culture)คำแนะนำ  แบบสอบถามนี้เป็นการถามความเห็นของท่านเกี่ยวกับประเด็นเรื่องความปลอดภัยสำหรับผู้ป่วย ความผิดพลั้งทางการแพทย์ และการรายงานเหตุการณ์ในโรงพยาบาลของท่าน ซึ่งจะใช้เวลาประมาณ 10-15 นาทีในการตอบเหตุการณ์ (event)   หมายถึง ความผิดพลั้ง (error), ความผิดพลาด (mistake), อุบัติการณ์ (incident), อุบัติเหตุ      (accident) หรือความเบี่ยงเบน (deviation) ไม่ว่าจะส่งผลให้ผู้ป่วยได้รับอันตรายหรือไม่ ความปลอดภัยของผู้ป่วย (Patient safety) หมายถึง การหลีกเลี่ยงหรือการป้องกันการบาดเจ็บต่อผู้ป่วยหรือเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ที่เกิดจากกระบวนการดูแลผู้ป่วย
SECTION A: พื้นที่ปฏิบัติงาน/หน่วยงานของท่าน
ประเด็นคำถาม *
ไม่เห็นด้วยอย่างมาก
ไม่เห็นด้วย
ไม่แน่ใจ
เห็นด้วย
เห็นด้วยอย่างมาก
สมาชิกในหน่วยงานนี้ช่วยเหลือเกื้อกูลกันและกัน
เรามีกำลังคนเพียงพอรองรับปริมาณงานของหน่วยงาน
ถ้ามีงานจำนวนมากที่ต้องทำให้เสร็จอย่างรวดเร็ว เราจะทำงานร่วมกันเป็นทีม
สมาชิกในหน่วยนี้ปฏิบัติต่อกันด้วยความเคารพให้เกียรติ
เจ้าหน้าที่ในหน่วยงานนี้มีจำนวนชั่วโมงทำงานที่เหมาะสมกับการให้การดูแลผู้ป่วยหรือให้บริการแก่ผู้รับบริการได้ดีที่สุด
เรากำลังเร่งพัฒนางานเพื่อยกระดับความปลอดภัยสำหรับผู้ป่วยหรือผู้รับบริการ
เราใช้เจ้าหน้าที่ชั่วคราว (part time) หรือเจ้าหน้าที่ภายนอก (outsources) จำนวนเหมาะสม เพื่อช่วยให้สามารถดูแลผู้ป่วยหรือให้บริการแก่ผู้รับบริการได้ดีที่สุด (รปภ. , แม่บ้าน)
เจ้าหน้าที่รู้สึกว่าความผิดพลาดของตนเป็นบทเรียนสู่การพัฒนา จะไม่ถูกนำมาจัดการลงโทษ
ที่หน่วยงานนี้ ความผิดพลาดทั้งหลายนำมาสู่การเปลี่ยนแปลงในด้านบวก
การที่ไม่เกิดความผิดพลาดร้ายแรงขึ้นที่หน่วยงานนี้เป็นเพราะมีการวางระบบป้องกัน ควบคุมเป็นอย่างดี ไม่ใช่เพราะเหตุบังเอิญ (by chance)
ถ้าส่วนใดในหน่วยงานนี้มีงานยุ่ง จะมีคนอื่นช่วยเหลือ
เมื่อมีการรายงานเหตุการณ์ จะเกิดความรู้สึกว่าสิ่งที่ถูกรายงานคือรายงานระบบที่เป็นปัญหา ไม่ใช่ตัวบุคคล
เราประเมินประสิทธิผล หลังจากที่ดำเนินการเปลี่ยนแปลงเพื่อยกระดับความปลอดภัยสำหรับผู้ป่วย
เราพยายามทำงานอย่างรัดกุม ระมัดระวัง ไม่เร่งรีบจนเกินไป แม้จะอยู่ในภาวะวิกฤติ (crisis mode)
แม้จะต้องทำงานมากขึ้น แต่ก็ไม่เคยละเลยความปลอดภัยสำหรับผู้ป่วย
เจ้าหน้าที่ไม่กังวลเลยว่าความผิดพลาด (mistake) ของตนจะถูกเก็บบันทึกไว้ในแฟ้มประวัติ
เราไม่มีปัญหาความปลอดภัยของผู้ป่วยหรือผู้รับบริการในหน่วยงานนี้
แนวทางปฏิบัติและระบบของเราสามารถป้องกันความผิดพลั้ง (error) ได้ดี
SECTION B: หัวหน้างานของท่าน
โปรดระบุว่าท่านเห็นด้วยหรือไม่เห็นด้วยกับข้อความเกี่ยวกับหัวหน้างานที่ใกล้ชิดท่านที่สุดต่อไปนี้
ประเด็นคำถาม *
ไม่เห็นด้วยอย่างมาก
ไม่เห็นด้วย
ไม่แน่ใจ
เห็นด้วย
เห็นด้วยอย่างมาก
หัวหน้างานของฉันจะกล่าวชื่นชม (says a good word) เมื่อเห็นว่ามีการปฏิบัติงานตามแนวทางด้านความปลอดภัยสำหรับผู้ป่วยหรือผู้รับบริการที่กำหนดไว้
หัวหน้างานของฉันจะพิจารณาข้อเสนอแนะของเจ้าหน้าที่เพื่อปรับปรุงความปลอดภัยสำหรับผู้ป่วยหรือผู้รับบริการอย่างจริงจัง
เมื่อไรก็ตามที่มีภาวะกดดัน หัวหน้างานจะขอให้เราทำงานด้วยความรวดเร็ว ระมัดระวัง แม้จะมีการลดขั้นตอน(shortcuts) แต่ต้องไม่ส่งผลให้ความเสี่ยงเพิ่มขึ้น
หัวหน้างานของฉันใส่ใจกับปัญหาความปลอดภัยของผู้ป่วยหรือผู้รับบริการที่เกิดขึ้น เพื่อหาทางป้องกันไม่ให้เกิดขึ้นซ้ำแล้วซ้ำอีก
SECTION C: Communications
สิ่งต่อไปนี้เกิดขึ้นในพื้นที่ปฏิบัติงานหรือหน่วยงานของท่านบ่อยเพียงใด
ประเด็นคำถาม *
ไม่เห็นด้วยอย่างมาก
ไม่เห็นด้วย
ไม่แน่ใจ
เห็นด้วย
เห็นด้วยอย่างมาก
เราได้รับข้อมูลป้อนกลับเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงที่เป็นผลมาจากรายงานเหตุการณ์
เจ้าหน้าที่สามารถให้ข้อคิดเห็นหรือข้อเสนอแนะเมื่อพบเห็นสิ่งที่อาจมีผลด้านลบต่อการดูแลผู้ป่วยหรือผู้รับบริการ
เราได้รับการบอกเล่าข้อมูลความผิดพลั้งที่เกิดขึ้นในหน่วย
เจ้าหน้าที่กล้าตั้งคำถามต่อการตัดสินใจหรือการกระทำของผู้ที่มีอำนาจมากกว่า
ในหน่วยงานนี้ เราพูดคุยกันถึงวิธีการที่จะป้องกันความผิดพลั้ง (errors) ไม่ให้เกิดซ้ำขึ้นอีก
เจ้าหน้าที่กล้าที่จะซักถามเมื่อเห็นว่าสิ่งที่ไม่ถูกต้อง
SECTION D: ความถี่ของการรายงานเหตุการณ์
ในพื้นที่ปฏิบัติงานหรือหน่วยงานของท่าน เมื่อเกิดความผิดพลาดต่อไปนี้ จะมีการรายงานบ่อยเพียงใด
ประเด็นคำถาม *
ไม่เห็นด้วยอย่างมาก
ไม่เห็นด้วย
ไม่แน่ใจ
เห็นด้วย
เห็นด้วยอย่างมาก
มีการรายงานเหตุการณ์บ่อยเพียงใด ในกรณีมีการกระทำผิดพลาด (mistake) เกิดขึ้น แต่ได้รับการตรวจพบและแก้ไขก่อนที่จะมีผลต่อผู้ป่วยหรือผู้รับบริการ (ความรุนแรงระดับ A, B หรือความเสี่ยงทั่วไปที่มีความรุนแรงระดับ 1)
มีการรายงานเหตุการณ์บ่อยเพียงใด ในกรณีมีการกระทำผิดพลาด (mistake) เกิดขึ้น แต่ไม่มีโอกาสเกิดอันตรายต่อผู้ป่วยหรือผู้รับบริการ (ความรุนแรงระดับ C, D หรือความเสี่ยงทั่วไปที่มีความรุนแรงระดับ 2)
การรายงานเหตุการณ์บ่อยเพียงใด ในกรณีมีการกระทำผิดพลาด (mistake) เกิดขึ้น และอาจจะมีโอกาสเกิดอันตรายต่อผู้ป่วยหรือผู้รับบริการ (ความรุนแรงตั้งแต่ระดับ E ขึ้นไป หรือความเสี่ยงทั่วไปที่มีความรุนแรงตั้งแต่ระดับ 3 ขึ้นไป)
SECTION E: ระดับความปลอดภัยของผู้ป่วย (Patient Safety Grade)
โปรดให้คะแนนความปลอดภัยของผู้ป่วยโดยรวม สำหรับพื้นที่ปฏิบัติงาน/หน่วยงานท่าน ให้เลือกตอบเพียง 1 คำตอบ *
SECTION F: โรงพยาบาลของท่าน
โปรดระบุว่าท่านเห็นด้วยหรือไม่เห็นด้วยกับข้อความโรงพยาบาลของท่านต่อไปนี้
ประเด็นคำถาม *
ไม่เห็นด้วยอย่างมาก
ไม่เห็นด้วย
ไม่แน่ใจ
เห็นด้วย
เห็นด้วยอย่างมาก
ผู้บริหารโรงพยาบาลสร้างบรรยากาศในการทำงานที่ส่งเสริมความปลอดภัยสำหรับผู้ป่วยหรือผู้รับบริการ
หน่วยงานต่างๆ ในโรงพยาบาลให้ความร่วมมือกันเป็นอย่างดี
ปัญหาในการย้ายผู้ป่วยหรือผู้รับบริการระหว่างหน่วยงาน จะถูกนำมาทบทวนร่วมกันเสมอ
มีความร่วมมือที่ดีระหว่างหน่วยงานต่างๆ ในโรงพยาบาลที่ต้องทำงานร่วมกัน
ข้อมูลการดูแลผู้ป่วยหรือผู้รับบริการที่สำคัญมีการบันทึกไว้หรือมีการสื่อสารกันระหว่างเปลี่ยนเวร
รู้สึกมีความสุขในการทำงาน แม้เมื่อต้องทำงานร่วมกับเจ้าหน้าที่จากหน่วยงานอื่นในโรงพยาบาล
ไม่มีปัญหาเกิดขึ้นในการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างหน่วยงานต่างๆ
การกระทำของผู้บริหารโรงพยาบาลแสดงให้เห็นว่าความปลอดภัยของผู้ป่วย/ผู้รับบริการสำคัญสูงสุด
ดูเหมือนว่าผู้บริหารโรงพยาบาลสนใจในความปลอดภัยของผู้ป่วยหรือผู้รับบริการ แม้ว่าจะยังไม่มีเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์เกิดขึ้น
หน่วยงานในโรงพยาบาลทำงานร่วมกันได้ดีเพื่อให้การดูแล/บริการที่ดีที่สุดสำหรับผู้ป่วย/ผู้รับบริการ
จะไม่เกิดปัญหาขึ้นกับผู้ป่วยหรือผู้รับบริการ แม้จะอยู่ในช่วงเปลี่ยนเวร
SECTION G: จำนวนการรายงานเหตุการณ์ ในช่วง 12 เดือนที่ผ่านมา
ท่านได้บันทึกและส่งรายงานจำนวนเท่าไร ให้เลือกตอบเพียง 1 ข้อ *
SECTION H: ความคิดเห็นของท่าน
ขอให้แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับความปลอดภัยของผู้ป่วยความผิดพลั้ง/รายงานเหตุการณ์ในโรงพยาบาลอย่างอิสระ
ความปลอดภัยของผู้ป่วย ความผิดพลั้ง ในโรงพยาบาลของท่าน *
การรายงานเหตุการณ์ในโรงพยาบาลของท่าน *
Submit
Clear form
Never submit passwords through Google Forms.
This content is neither created nor endorsed by Google. Report Abuse - Terms of Service - Privacy Policy